การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
|
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
องค์ประกอบของการสื่อสาร
1. ผู้ส่งข้อมูล (Sendar) คือ สิ่งที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ
2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้
3. ข้อมูล (Data) คือ สิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปยังผู้รับ อาจอยู่ในรูปแบบ ข้อความ เสียง ภาพ วิดีโอ และอื่นๆ
4. สื่อนำข้อมูล (Meduim) คือ สิ่งที่เป็นตัวกลางในการถ่ายโอนข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
5. โพโตคอล (Potocal) คือ กฎระเบียบที่ใช้กำหนดวิธีการติดต่อสื่อสาระหว่างอุปกรณ์คู่หนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารใด ๆ ผ่านระบบเครือข่าย
ทิศทางการสื่อสาร
มี 3 แบบ
1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางเดียว” (One-way Communication)
2. แบบกึ่งสองทิศทาง ( Half Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางใดทางหนึ่ง
(Either-way Communication)” เป็นทิศทางการ
3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบสองทาง
(Both-way Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูล
1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) หรือเรียกว่า (One-way Communication)
ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้เช่น
การกระจายเสียงจากสถานีวิทยุ การเผยแพร่ภาพและรายการต่างๆของสถานีโทรทัศน์ เป็นต้น
2. แบบกึ่งสองทิศทาง ( Half Duplex)หรือ (Either-way Communication)”
สื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถส่งพร้อมกันได้
โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น